สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ (สวส.)

Office of Academic Resources and Information Technology

การติดตั้ง NagiosQL เพื่อทำ Network monitoring

สำหรับการติดตั้ง NagiosQL ต้องการทำการติดตั้ง PHP5 และ Mysql-Server และ Apache เพื่อการทำงานร่วมกัน

วิธีการติดตั้ง PHP5, MySQL 5.5 Apache

1) ทำการติดตั้ง Apache ผ่าน apt-get ดังนี้ครับ

apt-get install -y php5 mysql-server php5-mysql 
2) จะปรากฎข้อความถามว่าจะให้ตั้งรหัสผ่าน root ให้ใส่รหัสผ่านที่ต้องการ

3) จากนั้นให้สั่ง Restart Apache ตามปกติ

service apache2 restart
4) ทำการแก้ไขไฟล์ /etc/php5/apache2/php.ini เพื่อแก้ไข timezone ดังนี้

nano /etc/php5/apache2/php.ini
5) ทำการเพิ่มข้อความในส่วนของ [Date] ดังนี้ (ประมาณบรรทัดที่  879)

[Date]
; Defines the default timezone used by the date functions
; http://php.net/date.timezone
;date.timezone =
date.timezone = Asia/Bangkok

6) จากนั้นให้สั่ง Restart Apache อีกครั้ง

service apache2 restart
ขั้นตอนการเตรียมการติดตั้ง NagiosQL

1) ทำการ Download โปรแกรม 3 File ดังนี้

cd /usr/src
Download Nagios 3.2.0 Main File

wget http://downloads.sourceforge.net/project/nagiosql/nagiosql/NagiosQL%203.2.0/nagiosql_320.tar.gz
Nagios 3.2.0 Service Pack 1

wget http://downloads.sourceforge.net/project/nagiosql/nagiosql/NagiosQL%203.2.0/nagiosql_320_service_pack_1_additional_fixes_only.zip
Nagios 3.2.0 Service Pack 2

wget http://downloads.sourceforge.net/project/nagiosql/nagiosql/NagiosQL%203.2.0/nagiosql_320_service_pack_2_additional_fixes_only.zip
2) ทำการแตกไฟล์ทั้ง 3 ไฟล์ ดังนี้
tar -xvzf nagiosql_320.tar.gz
unzip nagiosql_320_service_pack_1_additional_fixes_only.zip
unzip nagiosql_320_service_pack_2_additional_fixes_only.zip

3) ทำการสร้าง folder nagiosql และ copy ไฟล์ทั้งหมดไปใส่ดังนี้

mkdir /var/www/html/nagiosql
cp -R /usr/src/nagiosql32/* /var/www/html/nagiosql/
cp -R /usr/src/NagiosQL_3.2.0_SP2/* /var/www/html/nagiosql/

4) ทำการสร้าง directory สำหรับ เก็บ config ไฟล์ดังนี้

mkdir /etc/nagiosql
mkdir /etc/nagiosql/hosts
mkdir /etc/nagiosql/services
mkdir /etc/nagiosql/backup
mkdir /etc/nagiosql/backup/hosts
mkdir /etc/nagiosql/backup/services

5) ทำการแก้ Permission และ Owner ในแต่ละ Folder ดังนี

Nagios configuration

chgrp www-data /etc/nagios3
chgrp -R www-data /var/lib/nagios3
chgrp -R www-data /var/run/nagios3
chgrp www-data /etc/nagios3/nagios.cfg 
chgrp www-data /etc/nagios3/cgi.cfg
chgrp www-data /etc/nagios3/resource.cfg
chmod 775 /etc/nagios3
chmod -R 775 /var/lib/nagios3
chmod g+s /var/lib/nagios3/rw
chmod 664 /etc/nagios3/nagios.cfg
chmod 664 /etc/nagios3/cgi.cfg
chmod 664 /etc/nagios3/resource.cfg
usermod -G nagios www-data

NagiosQL configuration

chmod 6755 /etc/nagiosql
chown www-data.nagios /etc/nagiosql
chmod 6755 /etc/nagiosql/hosts
chown www-data.nagios /etc/nagiosql/hosts
chmod 6755 /etc/nagiosql/services
chown www-data.nagios /etc/nagiosql/services

NagiosQL backup configuration

chmod 6755 /etc/nagiosql/backup
chown www-data.nagios /etc/nagiosql/backup
chmod 6755 /etc/nagiosql/backup/hosts
chown www-data.nagios /etc/nagiosql/backup/hosts
chmod 6755 /etc/nagiosql/backup/services
chown www-data.nagios /etc/nagiosql/backup/services

Nagios Permission
chgrp www-data /etc/nagios3
chgrp www-data /etc/nagios3/nagios.cfg
chgrp www-data /etc/nagios3/cgi.cfg
chmod 775 /etc/nagios3
chmod 664 /etc/nagios3/nagios.cfg
chmod 664 /etc/nagios3/cgi.cfg


NagiosQL for setup config

chown -R www-data:www-data /var/www/html/nagiosql
6) ทำการติดตั้ง php extension เพิ่มเติมดังนี้

 apt-get install libssh2-1-dev libssh2-php
การติดตั้ง NagiosQL ผ่าน Web Browser

1) เริ่มขั้นตอนการติดตั้งผ่าน Web ทำการเปิด URL ดังนี้


2) หลังจากนั้นระบบจะตรวจสอบความพร้อม ถ้าระบบพร้อมแล้วจะปรากฎดังภาพ

3) จากนั้นกด Next จะปรากฎหน้าต่างตั้งค่าเกี่ยวกับฐานข้อมูล ให้ใส่ข้อมูลดังภาพ

4) จากนั้นจะปรากฎหน้าจอแสดงผลการติดตั้ง ดังนี้

5) ทำการลบ installation folder ดังนี้

rm -rf /var/www/html/nagiosql/installation
6) ทำการกด Finish หรือเข้า URL ใหม่ดังนี้
https://localhost/nagiosql
7) ทำการ Login โดยใช้ Username Password ที่ตั้งไว้ดังรูป

ที่มา  url :http://sysadmin.psu.ac.th/2014/07/23/setup-nagiosql-ubuntu