สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ (สวส.)

Office of Academic Resources and Information Technology

ubuntu

คำสั่งคีย์ลัดที่เราควรรู้ใน Ubuntu

ในการใช้คีย์ลัดสำหรับ Ubuntu (อูบุนตู) เป็นที่รู้กันดีว่ามันช่วยลดระยะเวลาในการทำงานจากการคลิกเมาส์ลงได้ ทำให้ใช้งานได้อย่างสะดวก รวดเร็วขึ้น คีย์ลัดจึงจำเป็นสำหรับการใช้โปรแกรมต่างๆ  คีย์ลัดที่ควรรู้ใน Ubuntu มีดังต่อไปนี้

ยกเลิกการแสดงไฟล์ในไดเร็กทอรีที่ไม่มีอินเด็กซ์ไฟล์ Apache Linux


     หากมีการเปิดเข้าไปในไดเร็กทอรี ที่ยังไม่มีอินเด็กซ์ไฟล์ ระบบจะแสดงไฟล์ทั้งหมดขึ้นมาให้ ซึ่งจะไม่ปลอดภัยเลย หากว่าแฮกเกอร์สามารถเห็นไฟล์ในไดเร็กทอรีต่างๆ ของเราได้หมด   การเปิดออฟชั่นนี้สามารถทำได้ง่ายๆ โดยเพิ่ม Options -Indexes เข้าไปในไฟล์ vi /etc/apache2/sites-available/000-default.conf
  • เปิดไฟล์ 000-default.conf ขึ้นมาแก้ไข

 vi /etc/apache2/sites-available/000-default.conf

ซ่อนการแสดงเวอร์ชั่นของ Apache และ OS จากหน้า Error


       ทุกครั้งที่มีการเรียกไฟล์ที่ไม่มีอยู่ใน website ของเรา Apache จะแสดงข้อมูลขึ้นมาว่าเราใช้ Apache และ OS version อะไร ซึ่งจะเป็นข้อมูลที่ดี ที่จะให้แฮกเกอร์นำข้อมูลเหล่านั้นไปหาช่องโหว่มาโจมตี โดยเราสามารถปิดการแสดงข้อมูลเหล่านี้ได้โดยการแก้ไขไฟล์ /etc/apache2/apache2.conf
  • เปิดไฟล์ขึ้นมาแก้ไข จะใช้ vi หรือ nano แล้วแต่ถนัด
vi /etc/apache2/apache2.conf

    การ config virtual host ของ apache บน ubuntu server 14.04

    โดยปกติเมือเราติดตั้ง apache2 แล้วบน ubuntu version เก่า(ไม่แน่ใจเก่าถึง verson) เราสามารถสร้าง config file virtual host ใน site-avalable ด้วย
    นานสกุลอะไรก็ได้ แต่ถ้าเป็น ubuntu version นี้จำเป็นต้องแก้ file config ของ apache ก่อนจะอยุ่ใน
    /etc/apache2/ ชื่อ file apache2.conf
    ด้วยคำสั่ง
    root@eng:~# vi /etc/apache2/apache2.conf
    ทำการแก้ไขในส่วน# Include the virtual host configurations: ให้ใส่ # หน้าบรรทัดเดิม(เพื่อเก็บ config เดิมไว้ก่อน) แล้วเพิ่มบรรทัดใหม่ที่  ตามรูป

    DNS Setup สำหรับ IPv6

    1. ติดตั้ง DNS บน Ubunut ด้วย software bind9 ด้วยคำสั่ง 
       # sudo aptitude install bind9
    2. ทำการตั้งค่า config ของโปรแกรม เพื่อให้บริการ Name Server ด้วย IPv6 เบื้องต้นด้วยโปรแกรม Editor ทั่วไปในที่นี้ใช้คำสั่ง
      # sudo vi /etc/bind/name.conf.local
    ----------------------------------------------------------------------
    //
    // Do any local configuration here
    //
    zone "rmutsv.ac.th" {
            type master;
            file "/etc/bind/db.rmutsv.ac.th";

    การติดตั้ง Web Server Mysql phpmyadmin บน Debian & Ubuntu

     
         การติดตั้ง Web Server บน Debian & Ubuntu ก็ไม่ยากเช่นกัน  แต่วิธีการติดตั้ง Package จะไม่เหมืนกัน  Red Hat ใช้ rpm Debian Ubuntu ใช้ apt-get /dpkg   Red Hat ใช้ system-config-packages Debian Ubuntu ใช้ synaptic  เพราะฉะนั้นในการติดตั้ง Web server บน Debian หรือ Ubuntu ก็ทำได้ 2 แบบคือ   แบบกราฟิก และ แบบใช้คำสั่ง การใช้คำสั่ง แต่จะแนะนำแบบการใช้คำสั่งดีกว่าแบบกราฟิกไม่ยากอยู่แล้ว

    การเพิ่มขีดจำกัดในการเปิด Socket Connection ใน Ubuntu

    ผมได้พัฒนาระบบตัวหนึ่ง ซึ่งจะต้องรองรับการเปิด Socket จำนวนมาก แล้วก็เจอปัญหาว่า error: [Errno 24] Too many open files เนื่องจากระบบได้จำกัดจำนวนการเปิดไฟล์จำนวนมาก ซึ่งรวมไปถึงการเปิด Socket ด้วยครับ ดังตัวอย่างนี้ครับ
    ERROR:tornado.application:Exception in I/O handler for fd 4
    Traceback (most recent call last):
      File "/home/rmutsv/wpad/tornado/ioloop.py", line 672, in start
      File "/home/rmutsv/wpad/tornado/stack_context.py", line 331, in wrapped
      File "/home/rmutsv/wpad/tornado/stack_context.py", line 302, in wrapped

    การกำหนด Proxy ให้กับ Ubuntu Server

    ในการใช้งาน Server บางครั้ง เราก็ต้องการให้ดาวน์โหลดข้อมูลต่าง ๆ โดยผ่าน Proxy เพื่อประโยชน์ในเรื่องของการ Caching ข้อมูล และประหยัด Bandwidth ของอินเตอร์เน็ต โดยใน Ubuntu Server นั้นเราสามารถกำหนด Proxy ได้ดังนี้ครับ

    ทำการแก้ไขไฟล์ /etc/environment

    File: /etc/environment
    PATH="/usr/local/sbin:/usr/local/bin:/usr/sbin:/usr/bin:/sbin:/bin:/usr/games:/usr/local/games"
    
    no_proxy="localhost,127.0.0.0/8,172.16.0.0/12"

    การแก้ไขให้ Ubuntu Server กลับมาใช้ระบบเครือข่ายได้ หลังจากเปลี่ยน Network Card

      ผมได้ลงระบบ Ubuntu Server ในระบบ KVM แล้วได้มีการเปลี่ยนค่า Mac Address เพื่อความสะดวกบางประการ ซึ่งเปรียบเสมือนการเปลี่ยน Network Card ทำให้เมื่อบูตระบบแล้ว ตัว Ubuntu Server อาจจะไม่เห็นหรือใช้งาน Network Card นั้นไม่ได้ แต่เรามีวิธีแก้ไขดังนี้ครับ

    ทำการแก้ไขไฟล์ /etc/udev/rules.d/70-persistent-net.rules

    File: /etc/udev/rules.d/70-persistent-net.rules